- การคำนวณการใช้งานพลังงานแสงอาทิตย์
การคำนวณปริมาณไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย ์
ตัวอย่าง บ้านหลังหนึ่ง ใช้อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าดังนี้
1.หลอดฟลูออเรสเซนต์ 18 วัตต์ 2 หลอด รวม 36 วัตต์แต่ละ
หลอดใช้ไฟฟ้า ทั้งหมด 6 ชั่วโมง
จะใช้ไฟฟ้าทั้งหมด 36x6 = 216W/H
2. โทรทัศน์สี 43 วัตต์ เปิดใช้ 5 ชั่วโมง จะใช้ไฟ้าทั้งหมด
43 x 5 = 215W/H
3. พัดลมตั้งพืน 45 วัตต์ เปิดใช้ 5 ชั่วโมง จะใช้ไฟฟ้าทั้งหมด
45 x 5 = 225W/H
4. หม้อหุงข้าวไฟฟ้า 800 วัตต์ ใช้ 0.5 ชั่วโมง จะใช้ไฟฟ้าทั้งหมด
800 x 0.5 = 400W/H
จำนวนพลังงานที่ใช้ทั้งหมด = พลังงานที่เครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดใช้ให้นำมารวมกัน
216 + 215 + 225 + 400 = 1,056 วัตต์ชั่วโมง
นำ 1,056 วัตต์ชั่วโมง หารด้วย 5 ชั่วโมง 1,056 / 5 = 211.2 W
จากนั้น เมื่อเราคำนวณจำนวนพลังงานที่ใช้ทั้งหมดได้แล้วก็สามารถจัดระบบโซลาร์เซลล์ที่เหมาะสมกับ จำนวนพลังงานที่ใช้ได้แล้ว
กล่าวคือ
ในระบบนี้ เราจะต้องใช้ระบบโซลาร์เซลล์ขนาด 211.2 W
ตามทฤษฎี เราติดตั้งระบบโซลาร์เซลล์เพียงแค่ 211.2 W
แต่จากประสบการณ์การติดตั้งระบบโซลาร์เซลล์ในความเป็นจริงแล้ว จะพบว่า มีการดึงไฟจากแบตเตอรี่จากการอุปกรณ์ในระบบ
โซลาร์เซลล์เองและการกระชากของไฟที่เกิดจากการเริ่มเปิดเครื่องใช้ไฟฟ้า จึงทำให้เราต้อง จัดระบบโซลาร์เซลล์เผื่อไว้อีก อย่าง
น้อย 20 % เพื่อให้เพียงพอต่อการใช้ไฟฟ้า
จากตัวอย่างเราควรใช้ ระบบไฟฟ้าโซลาร์เซลล์ ขนาด 280 W
หมายเหตุ
ที่คำนวณออกมาไม่สามารถระบุได้ในระบบ เพราะต้องขึ้นกับการจัดวางอุปกรณ์ในแต่ละสถานที่ ว่าวางห่างกันมากเพียงใดซึ่งมี
ผลต่อการคำนวณหาขนาดสายไฟทั้งสิ้น
ตารางแสดงค่าไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้าทั่วไป และเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีมอเตอร์กินซึ่งไฟมากขณะเปิดเครื่องเป็นองค์ ประกอบ
ชนิดของอุปกรณ์ไฟฟ้า |
กำลังไฟฟ้าโดยประมาณ |
Y = มีมอเตอร์ที่กินไฟ |
หลอดไฟกลม |
60 |
|
หลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ |
36 |
|
พัดลมตั้งพื้น 16'' |
74 |
|
วิทยุ |
25 |
|
เครื่องเสียง/สเตอริโอ (Stereo) |
3500 |
|
โทรทัศน์ 29'' |
145 |
|
เครื่องเล่น VCD |
25 |
|
ตู้เย็น 6 คิว |
128 |
Y |
เครื่องทำน้ำร้อน |
3500 |
|
หม้อหุงข้าว |
720 |
|
เตาอบไมโครเวฟ |
1150 |
|
กระติกน้ำร้อน |
670 |
|
เครื่องปิ้งขนมปัง |
750 |
|
ไดร์เป่าผม |
1000 |
|
เครื่องดูดฝุ่น 30 ลิตร |
1400 |
Y |
เครื่องซักผ้า |
450 |
Y |
เครื่องปรับอากาศ 9000 BTU |
2600 |
Y |
เครื่องปรับอากาศ 12000 BTU |
3800 |
Y |
เครื่องปรับอากาศ 18000 BTU |
5100 |
Y |
เครื่องปรับอากาศ 22000 BTU |
6600 |
Y |
เครื่องใช้ไฟฟ้าของท่านกินไฟกี่วัตต์โดยประมาณ ดูตรงนี้ (ขอบคุณข้อมูลจาก การไฟ้าส่วนภูมิภาค)
เครื่องใช้ไฟฟ้า |
ปริมาณการสิ้นเปลือง(วัตต์ต่อชม.) |
เครื่องใช้ไฟฟ้า |
ปริมาณการสิ้นเปลือง(วัตต์ต่อชม.) |
พัดลมตั้งพื้น |
45-75 วัตต์ |
ตู้เย็น 2-12 คิว (ลบ.ฟุต) |
53-194 วัตต์ |
พัดลมเพดาน |
70-104 วัตต์ |
เครื่องปรับอากาศ |
680-3,300 วัตต์ |
หม้อหุงข้าวไฟฟ้า |
500-1,000 วัตต์ |
เครื่องดูดฝุ่น |
625-1,000 วัตต์ |
เตารีดไฟฟ้า |
430-1,600 วัตต์ |
เตาไฟฟ้า (เดี่ยว) |
300-1,500 วัตต์ |
เครื่องทำน้ำร้อนในห้องน้ำ |
900-4,800 วัตต์ |
โทรทัศน์ ขาว-ดำ |
24-30 วัตต์ |
เครื่องปิ้งขนมปัง |
600-1,000 วัตต์ |
โทรทัศน์สี |
43-95 วัตต์ |
เครื่องเป่าผม |
300-1,300 วัตต์ |
วีดีโอ |
30-50 วัตต์ |
เครื่องซักผ้า |
250-2,000 วัตต์ |
เครื่องอบผ้าแห้ง |
650-2,500 วัตต์ |
การคำนวณหาความจุของแบตเตอรี่และระยะเวลาการใช้งาน
การคำนวณหาความจุของแบตเตอรี่และระยะการใช้งานสามารถคำนวณหาความจุของแบตเตอรี่ที่ต้องใช้จากสูตร
โดยที่ประสิทธิภาพของแบตเตอรี่ = 0.60 (สำหรับแบตเตอรี่ธรรมดา)
= 0.80 (สำหรับแบตเตอรี่ Deep Cycle)
โดยทั่วไปประสิทธิภาพของ Inverter = 0.85
เมื่อรู้กำลังไฟฟ้าของโหลดที่ต้องการใช้, ความจุของแบตเตอรี่ และแรงดันไฟฟ้าของแบตเตอรี่แล้ว สามารถคำนวณหาระยะ
เวลาที่สามารถใช้งานโหลดได้จากสูตร
โดยที่
Ah คือ แอมป์-ชั่วโมง หรือ Amp-hour
W คือ วัตต์ หรือ Watts
hr คือ ชั่วโมง หรือ hour
V คือ โวลท์ หรือ Volt
หมายเหตุ : ระยะเวลาที่สามารถใช้งานโหลดได้จะขึ้นอยู่กับลักษณะการใช้งานของโหลดนั้นๆด้วย
ตัวอย่างการคำนวณหาความจุ
ต้องการนำ Inverter ไปใช้งานกับพัดลมตั้งโต๊ะขนาด 100W ต่อเนื่องเป็นเวลา 8 ชั่วโมง ต้องใช้แบตเตอรี่ 12V ขนาดความจุ
เท่าไหร่
จากสูตร
ดังนั้น ต้องใช้แบตเตอรี่ขนาดความจุประมาณ 140-150Ah
ตัวอย่างการคำนวณหาเวลา
ต้องการนำ Inverter ไปใช้งานกับมอเตอร์ปั๊มน้ำขนาด 1 แรงม้า (1HP = 750 W) โดยใช้แบตเตอรี่ 12V/100Ah จะสามารถใช้
งานได้นานต่อเนื่องกี่ชั่วโมง
จากสูตร
ดังนั้น สามารถใช้ปั๊มน้าได้นานต่อเนื่อง 0.816 ชั่วโมง หรือ 49 นาที
ถ้าเป็นปั๊มน้ำออโต้ที่ใช้ตามบ้านก็จะสามารถใช้งานได้นานกว่า 49 นาที เพราะว่าปั๊มน้ำชนิดนี้จะทำงานก็ต่อเมื่อมีการเปิดก๊อกน้ำ
เท่านั้น ไม่ได้ทำงานต่อเนื่องตลอดเวลา
-
เซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell) เป็นอุปกรณ์สำหรับเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานไฟฟ้า โดยการนำสารกึ่งตัวนำ เช่น ซิลิกอนซึ่งมีราคาถูกที่สุดและมีมากที่สุดบน พื้นโลก มาผ่านกร...
-
เครื่องแปลงกระแสไฟฟ้าคืออะไร เครื่องแปลงกระแสไฟฟ้าหรือInverterเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ ถือว่ามีความสำคัญที่สุด และ มีความซับซ้อนเครื่องแปลงกระแสไฟฟ้านี้ มีหน้าที่ แปลงไฟฟ...
-
เครื่องควบคุมการประจุ ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า Charger controller บ้างก็ใช้ Charge regulator ชื่อก็บอกอยู่ชัดเจนว่าหน้าที่คือ ประจุไฟฟ้าที่ผลิตได้จากแผง เซลล์แสงอาทิตย์ลงในแบตเตอร...
-
แบตเตอรี่ แบตเตอรี่ (Battery) คือ อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่จัดเก็บพลังงานเพื่อไว้ใช้ ต่อไป ถือเป็นอุปกรณ์ที่สามารถแปลงพลังงานเคมีให้เป็นไฟฟ้าได้โดยตรง ด้วยการใช้เซลล์กัลวานิก (galvanic ...
-
โซลาร์เซลล์ (SOLAR CELL) 1. อยากติดโซลาร์เซลล์ที่บ้าน เพื่อลดค่าไฟฟ้าจะคุ้มหรือไม่ จุดคุ้มทุนกี่ ปี่? ตอบคุ้มแน่นอนครับ เมื่อคืนทุน 7-9 ปีในการช่วยลดค่าไฟฟ้า ด้วยอายุการ ทำงานของแ...
-
การเลือกใช้งานไฟฟ้าอย่างเหมาะสม สายไฟมีหน้าที่เป็นตัวนำไฟฟ้าโดยที่เป็นโลหะหรือวัสดุที่ยอมให้ กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ดีหรือเป็นสื่อในการส่งกระแสไฟฟ้าจากที่หนึ่ง ไปอีกที่หนึ่ง เปรีย...
-
Energy Meter ( Watt hour meter ) การวัดและเครื่องวัดพลังงาน เมื่อเราคำนวณกำลังที่สูญเสียในโหลดในช่วงเวลาที่กำหนดเราจะได้รับ พลังงานงานที่ใช้ไปซึ่งเขียนได้ในรูป เมื่อวัดช่ว...
-
Grid Tie Inverter ระบบ On Grid System หรือ Grid Tie Inverter เป็นระบบที่เชื่อมต่อโซ ล่าเซลล์เข้ากับสายส่งไฟฟ้าเพื่อขายไฟฟ้าคืนให้การไฟฟ้าหรือช่วย ประหยัดค่าไฟฟ้าได้ อุปกณ์ที่เกี่ยว...
-
โซล่าเซลล์ (Solar cell) โซล่าเซลล์ คืออุปกรณ์สำหรับเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ให้เป็น พลังงานไฟฟ้า โซล่าเซลล์จะมีประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าสูงที่สุดในช่วง เวลากลางวัน พลังงานไฟฟ้าที...
-
หลักการทำงานและชนิดของ UPS เข้าชมสินค้าได้ที่นี่ รุ่นขนาด 1Kw , รุ่นขนาด 2Kw , รุ่นขนาด 3Kw , รุ่นขนาด 6Kw ตามมาตรฐาน EN 50091-3 / IEC 62040-3 สามารถแบ่ง UPS ออกเป็น ...
-
คำถามเรื่องไฟฟ้าที่คุณอยากรู้ - สาระน่ารู้ เพื่อที่อยู่อาศัย ในชีวิตประจำวันของคนเรา ส่วนใหญ่ต้องใช้ไฟฟ้าเป็นแหล่ง พลังงานสำคัญในการดำเนินชีวิต แต่มีคนจำนวนไม่มากนักที่จะให้ควา...
-
Power Factor (PF.) คืออะไร? สำหรับโรงงานอุตสาหกรรม อาคารขนาดใหญ่หรือผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีการใช้ไฟฟ้าระบบ 3 เฟสที่มีการใช้กำลังงานมากกว่า 30 kW ขึ้นไปในบิลเรียกเก็บค่าไฟฟ้าที่ได้รับใน...
-
ความหมายของ IP (Ingress Protection) ความหมายของระดับการป้องกันที่ใช้กัน หรือ IP (Ingress Protection) เป็น ค่าที่กำหนดค่ามาตรฐานของอุปกรณ์ไฟฟ้านั้นๆ ในการป้องกันอันตราย จาก ของแข็ง...
-
สูตร การคำนวณค่าทางไฟฟ้ากระแสสลับ A = KW x 1000 / Vx P.F. (1 Phase) A = KW x 1000 / 1.732 x Vx P.F. (3 Phase) KW. = A x V x P.F. / 1000 (1 Phase) KW. = A x V x 1.732 x P.F. / 100...